ส่วนประกอบของรถไฟฟ้า


1 มอเตอร์ (Motor)


รถไฟฟ้ามีมอเตอร์อย่างน้อยหนึ่งตัว ขึ้นอยู่กับขนาดและประสิทธิภาพ กำลังของมอเตอร์อยู่ในช่วง 15-200 kw


ตัวอย่างเช่น รถซีดานสี่ล้อ ใช้มอเตอร์ขนาด 48kW (65HP)


2 ชุดแบตเตอรี่ (Battery Set)


ชุดแบตเตอรี่จะจ่ายพลังงานที่จำเป็นเพื่อให้มอเตอร์ทำงาน การชาร์จจะเกิดขึ้นเมื่อรถเบรค


(มอเตอร์จำทำงานในโหมดปั่นไฟคืนกลับ) และต่อเข้ากับสถานีชาร์จประจุไฟฟ้า แบตเตอร่มีขนาดโดยประมาณ 5 ถึง 90


kWh แรงดันระหว่าง 300 – 500 V


3 ชาร์จเจอร์ (Charger)


ชาร์จเจอร์ เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับจากสถานีชาร์จประจุไปเป็นไฟฟ้ากระแสตรง และจำกัดค่ากระแสในช่วงรีบเร่ง


ไปสู่ค่าสูงสุดที่ยอมรับได้จากทั้งสายเคเบิ้ลและสถานีประจุไฟฟ้ารวมกัน


4 ช่องรับการประจุ (The Charging inlet)


รถที่ติดตั้งจากผู้ผลิตอาจมีช่องรับการประจุหนึ่งหรือสองช่อง


ขึ้นอยู่กับความต้องการในการประจุอย่างน้อยที่สุดจะต้องมีช่องรับหนึ่งช่องสำหรับการประจุแบบปกติ (normal)


และอีกช่องสำหรับประจุแบบเร่งด่วน (accelerate) จากเครือข่าย ACช่องสำหรับการประจุที่สอง


มีไว้สำหรับสถานีชาร์จแบบเร่งด่วนแบตเตอรี่และระยะทาง ระยะทางของรถที่วิ่งได้ขึ้นอยู่กับความจุของแบตเตอรี่


สไตล์การขับขี่ สภาพถนน และการใช้สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ไฟหน้า แอร์ เป็นต้นเอื้อเฟื้อข้อมูลจาก Schneider


ชาร์จเจอร์สำหรับรถไฟฟ้า eBikr.com 081-7501311 บริการติดตั้งชาร์จเจอร์รถไฟฟ้าด้วยชาร์จเจอร์จาก Schneider


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ส่วนประกอบของรางรถไฟ

ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ

ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ